เหงียน กาว กี่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เหงียน กาว กี่
กี่ใน ค.ศ. 1966
รองประธานาธิบดีสาธารณรัฐเวียดนามคนที่ 2
ดำรงตำแหน่ง
21 ตุลาคม ค.ศ. 1967 – 23 สิงหาคม ค.ศ. 1971
ประธานาธิบดีเหงียน วัน เถี่ยว
นายกรัฐมนตรีตนเอง
เหงียน ฟาน ล็อก
ทราน วัน เฮือง
ทราน เทียน เคียม
ก่อนหน้าเหงียน หง็อก เทอ (1963)
ถัดไปทราน วัน เฮือง
นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐเวียดนามคนที่ 5
ดำรงตำแหน่ง
14 มิถุนายน ค.ศ. 1965 – 31 ตุลาคม ค.ศ. 1967
ประมุขแห่งรัฐเหงียน วัน เถี่ยว
ก่อนหน้าฟาน หุย ดับ
ถัดไปเหงียน ฟาน ล็อก
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด8 กันยายน ค.ศ. 1930(1930-09-08)
เซินเตย์ ตังเกี๋ย อินโดจีนของฝรั่งเศส
เสียชีวิต23 กรกฎาคม ค.ศ. 2011(2011-07-23) (80 ปี)
กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
ที่ไว้ศพRose Hills Memorial Park, วิเทียร์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ
พรรคการเมือง National Social Democratic Front
คู่สมรสดัง ตูเยต ไม
บุตรเหงียน กาว กี ดวย
ลายมือชื่อ
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ สาธารณรัฐเวียดนาม
สังกัด กองทัพอากาศสาธารณรัฐเวียดนาม
ประจำการ1949–1971
ยศ
สงคราม/การสู้รบ

เหงียน กาว กี่ (เวียดนาม: Nguyễn Cao Kỳ, listen; เกิด 8 กันยายน ค.ศ. 1930 – 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2011)[1][2] ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการทหารอากาศสาธารณรัฐเวียดนาม ในคริสต์ทศวรรษ 1960 ก่อนที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีเวียดนามใต้ จากเผด็จการทหาร ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1965 ถึง ค.ศ. 1967 แล้วก็เกษียณอายุการเมืองในปี ค.ศ. 1971 เหงียน กาว กี่ เคยเป็นรองประธานาธิบดีของเวียดนามใต้มาก่อน

เหงียน กาว กี่ เกิดเมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม เคยเข้าร่วมกองทัพเวียดนามแห่งชาติ ของฝรั่งเศส-รัฐเวียดนาม และเริ่มจากการเป็นทหารราบ ก่อนที่ฝรั่งเศสจะส่งเขาฝึกฝนเป็นนักบิน ภายหลังที่ฝรั่งเศสถอนตัวออกจากประเทศเวียดนามและชาติอื่นๆ เหงียน กาว กี่ ก็ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นทหารอากาศแห่งสาธารณรัฐเวียดนาม และกลายเป็นผู้นำจากการมีส่วนร่วมในการรัฐประหารยึดอำนาจโง ดิ่ญ เสี่ยม ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1963

เครื่องอิสริยาภรณ์[แก้]

ในประเทศ[แก้]

  •  เวียดนามใต้:
    • เครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชาติเวียดนาม ชั้นประถมาภรณ์
    • เหรียญบุญญาภินิหารทหาร
    • เครื่องอิสริยาภรณ์ราชการดีเด่นเวียดนาม ชั้นที่ 1 (ทหารบก)
    • เครื่องอิสริยาภรณ์ราชการดีเด่นเวียดนาม ชั้นที่ 1 (ทหารอากาศ)
    • เหรียญสรรเสริญราชการ (ทหารอากาศ)
    • เหรียญรับราชการพิเศษ
    • แกลแลนทรี่ครอส
    • เหรียญกล้าหาญทหารอากาศ ประดับปีกทอง
    • เหรียญบาดแผลแห่งเวียดนาม
    • เหรียญเกียรติยศกองทัพเวียดนาม ชั้นที่ 1
    • เหรียญเสนาธิการทหาร ชั้นที่ 1
    • เหรียญรณรงค์เวียดนาม
    • เหรียญรับราชการทหาร ชั้นที่ 2
    • เหรียญรับราชการทหารอากาศ ชั้นที่ 1

ต่างประเทศ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Seth Mydans (23 July 2011). "Nguyen Cao Ky, South Vietnam Leader, Dies at 80". The New York Times.
  2. Nguyen, Daisy; Yoong, Sean (23 July 2011). "Former South Vietnam leader Nguyen Cao Ky dies". MSNBC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2011. สืบค้นเมื่อ 8 October 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]